Apichon Thongmung Kamnerdwam
นายอภิชล ทองมั่ง กำเนิดว้ำ
ตำแหน่ง : อาจารย์
ตำแหน่งทางวิชาการ : -
สังกัดคณะ : วิศวกรรมศาสตร์
หลักสูตร : สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
เบอร์โทร : 074-317100
อีเมล์ : apichon.tk@rmusv.ac.th
Mr.Apichon Thongmung Kamnerdwam
Present Position : Lecturer
Academic Ranks : -
Faculty : Engineering
Course : Industrial Engineering
Tel : 074-317100
E-mail : apichon.tk@rmusv.ac.th
การศึกษา : Education
M.Eng. (วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต: วิศวกรรมอุตสาหการและระบบ) ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2556
B.Pol.Sc. (รัฐศาสตรบัณฑิต: การบริหารรัฐกิจ) สาขาการบริหารรัฐกิจ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2555
B.Eng. (วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต: วิศวกรรมอุตสาหการ, เกียรตินิยม) ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2553
สาขาที่เชี่ยวชาญ : Experience
การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
การจำลองสถานการณ์และการหาค่าที่เหมาะสม
การยศาสตร์และการปรับปรุงงานเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพ
ประสบการณ์การสอน : Teaching Exprience
การจัดการการผลิตในอุตสาหกรรมเกษตร (Production Management in Agro-Industry)
หลักการจัดการด้านอุตสาหกรรมเกษตร (Principles of Agro-Industry Management)
การวางแผนและควบคุมการผลิตในอุตสาหกรรมเกษตร (Production Planning and Control in Agro-Industry)
เขียนแบบวิศวกรรม (Engineering Drawing)
การฝึกพื้นฐานทางวิศวกรรม (Basic Engineering Training)
การจำลองสถานการณ์ด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Simulation)
เทอร์โมฟลูอิดส์ (Thermofluids)
งานวิจัยที่สนใจ : Research Interests
การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
การจำลองสถานการณ์และการหาค่าที่เหมาะสม
การยศาสตร์และการปรับปรุงงานเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพ
ผลงานวิจัยหรือสิ่งประดิษฐ์ : Research or Innovation
อภิชล กำเนิดว้ำ, เบญจรงค์ มณีโชติ, และ องุ่น สังขพงค์. 2554. การพัฒนารถเข็นขนย้ายผ้าสำหรับหน่วยจ่ายผ้ากลาง โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จังหวัดสงขลา. งานประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2554, 20-21 ตุลาคม 2554, จังหวัดชลบุรี, หน้า: 359-363.
Apichon Kamnerdwam, Wanida Rattanamanee, Runchana Sinthavalai and Wannarat Suntiamorntut. 2012. Design of a Genetic Algorithm for Choosing the Location in Reverse Logistics Network: The Case of Computer Scraps. The 8th InternationalConference on Intelligent Manufacturing & Logistics Systems (IML 2012). February 18-22, 2012. Ubon Ratchathani, Thailand. pp. 341-346.
อภิชล กำเนิดว้ำ, วนิดา รัตนมณี, รัญชนา สินธวาลัย และ วรรณรัช สันติอมรทัต. 2556. การศึกษาปริมาณวัสดุจากกระบวนการรีไซเคิลซากคอมพิวเตอร์. วารสารวิจัย มข. ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 เดือนพฤษภาคม - มิถุนายน 2555, หน้า 404-418.
อภิชล กำเนิดว้ำ, รัญชนา สินธวาลัย, วนิดา รัตนมณี และ วรรณรัช สันติอมรทัต. 2556. การออกแบบระบบเรียกคืนซากคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย วารสารวิจัย มข. ปีที่ 18 ฉบับที่ 5 เดือน กันยายน - ตุลาคม 2556, หน้า 759-775.
อภิชล กำเนิดว้ำ, วนิดา รัตนมณี, รัญชนา สินธวาลัย และ วรรณรัช สันติอมรทัต. 2556. วิธีการเชิงพันธุกรรมสำหรับการวิเคราะห์ปัญหาตำแหน่งที่ตั้งเพื่อการจัดการซากคอมพิวเตอร์ในอนาคต. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 24 ฉบับที่ 3 เดือน กันยายน - ธันวาคม 2557, หน้า 560-572.
สุรสิทธิ์ ระวังวงศ์ ชาตรี หอมเขียว จุฬาลักษณ์ โรจนานุกูล และ อภิชล ทองมั่ง กำเนิดว้ำ. 2562. การประยุกต์ใช้วิธีการพื้นผิวตอบสนองในการหาค่าที่เหมาะสมและการพยากรณ์ค่าความขรุขระผิวในการกลึงคว้านรูในอะลูมิเนียม เกรด 6061 ด้วยมดีคาร์ไบด์. การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2562. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : กรุงเทพฯ. 21-24 กรกฎาคม 2562. หน้า: 184-190.
Surasit Rawangwong ,Romdorn Burapa, Watthanaphon Cheewawuttipong,Julaluk Rodjananugoon,ChatreeHomkhiew, Apichon Thongmung Kamnerdwam. 2020. Application of response surface methodology for optimization of cutting parameters for surface roughness and tool wear in turning of aluminum casting semi-solid 7075. SNRU Journal of Science and Technology. 12(2) May –August(2020) 164-173.
ตำรา หนังสือ : Text book
-
ประสบการณ์การทำงาน : Work Experience
ผู้ช่วยหน่วยวิจัย: หน่วยวิจัยการเพิ่มผลผลิตและคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2554 – 2556.
อาจารย์: ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหการเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2556 – 2557.
นักวิทยาศาสตร์: ศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรเพื่อการส่งออก คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2557 – 2562.
อาจารย์: สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย, 2562 – ปัจจุบัน.